อาการง่วงผิดปกติระหว่างวันแม้จะนอนอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม ถือเป็นปัญหาที่สร้างความรำคาญใจไม่น้อย หลายคนมักเข้าใจว่าอาการง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลามีสาเหตุมาจากการนอนหลับที่ไม่เพียงพอ แต่ความจริงแล้วการง่วงนอนระหว่างวันอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ ไม่ว่าจะเกิดจากพฤติกรรม หรือผลกระทบจากปัญหาสุขภาพ มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง
อาการง่วงนอนมากผิดปกติระหว่างวันอาจมีสาเหตุมาจาก 3 ปัจจัยหลักๆ ดังนี้
พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลมีส่วนส่งผลให้เกิดอาการง่วงนอนระหว่างวันได้ เช่น การนอนดึกติดต่อกันหลายวัน การกินกาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเป็นประจำ ตลอดไปจนถึงการที่เป็นบุคคลที่หัวแล่นตอนกลางคืนมากกว่ากลางวัน
พฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลมีส่วนส่งผลให้เกิดอาการง่วงนอนระหว่างวันได้ เช่น การนอนดึกติดต่อกันหลายวัน การกินกาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเป็นประจำ ตลอดไปจนถึงการที่เป็นบุคคลที่หัวแล่นตอนกลางคืนมากกว่ากลางวัน
ปัญหาสุขภาพจิตและอารมณ์ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการง่วงนอนได้ ส่วนใหญ่มักมาจากอาการเบื่อหน่าย ความกังวล บางรายอาจมีภาวะซึมเศร้าหรือภาวะเครียดร่วมด้วย ทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลให้เกิดอาการง่วงนอนมากผิดปกติระหว่างวัน
ปัญหาสุขภาพจิตและอารมณ์ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอาการง่วงนอนได้ ส่วนใหญ่มักมาจากอาการเบื่อหน่าย ความกังวล บางรายอาจมีภาวะซึมเศร้าหรือภาวะเครียดร่วมด้วย ทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลให้เกิดอาการง่วงนอนมากผิดปกติระหว่างวัน
ปัญหาสุขภาพร่างกายบางประการก็สามารถก่อให้เกิดอาการง่วงนอนระหว่างวันได้ เช่น
- โรคร่าเริง
ร่างกายของคนเรามีการหลั่งฮอร์โมนตามนาฬิกาชีวิต จากการที่เกิดความเคยชินกับการใช้ชีวิตตอนดึกๆ หรือทำงานหามรุ่งหามค่ำ เพราะเหตุผลที่ว่า ตอนกลางคืนเป็นเวลาที่เงียบสงบ ทำให้มีสมาธิ สมองลื่นไหล คิดอะไรออกได้ง่ายกว่าตอนกลางวัน ทำให้ไม่เหนื่อยแถมไม่ง่วง
ปัญหาสุขภาพร่างกายบางประการก็สามารถก่อให้เกิดอาการง่วงนอนระหว่างวันได้ เช่น
- โรคร่าเริง
ร่างกายของคนเรามีการหลั่งฮอร์โมนตามนาฬิกาชีวิต จากการที่เกิดความเคยชินกับการใช้ชีวิตตอนดึกๆ หรือทำงานหามรุ่งหามค่ำ เพราะเหตุผลที่ว่า ตอนกลางคืนเป็นเวลาที่เงียบสงบ ทำให้มีสมาธิ สมองลื่นไหล คิดอะไรออกได้ง่ายกว่าตอนกลางวัน ทำให้ไม่เหนื่อยแถมไม่ง่วง
- โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)
โรคนอนไม่หลับเป็นโรคความผิดปกติในการนอน พบบ่อยในวัยทำงานและผู้สูงอายุ เป็นภาวะนอนหลับยาก หลับไม่สนิท หรือหลับๆ ตื่นๆ จนทำให้พักผ่อนไม่เพียงพอ เลยรู้สึกง่วงและอยากงีบหลับระหว่างวันตลอดเวลา
- โรคนอนไม่หลับ (Insomnia)
โรคนอนไม่หลับเป็นโรคความผิดปกติในการนอน พบบ่อยในวัยทำงานและผู้สูงอายุ เป็นภาวะนอนหลับยาก หลับไม่สนิท หรือหลับๆ ตื่นๆ จนทำให้พักผ่อนไม่เพียงพอ เลยรู้สึกง่วงและอยากงีบหลับระหว่างวันตลอดเวลา
- โรคลมหลับ (Narcolepsy)
ผู้ป่วยมักมีอาการง่วงนอนมากผิดปกติและหลับในตอนกลางวันในขณะที่ทำกิจกรรมต่างๆอยู่ โดยไม่สามารถฝืนให้ตื่นได้ ไม่ว่าจะนอนเท่าใดก็ยังรู้สึกง่วงเท่าเดิม
- โรคลมหลับ (Narcolepsy)
ผู้ป่วยมักมีอาการง่วงนอนมากผิดปกติและหลับในตอนกลางวันในขณะที่ทำกิจกรรมต่างๆอยู่ โดยไม่สามารถฝืนให้ตื่นได้ ไม่ว่าจะนอนเท่าใดก็ยังรู้สึกง่วงเท่าเดิม
วิธีการกำจัดอาการง่วงนอนระหว่างวันให้หายขาด ควรแก้จากต้นเหตุจึงจะดีที่สุด ดังนี้
วิธีการกำจัดอาการง่วงนอนระหว่างวันให้หายขาด ควรแก้จากต้นเหตุจึงจะดีที่สุด ดังนี้
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตของตนเองจะช่วยลดปัญหาการง่วงนอนระหว่างวันได้ อาจต้องลองฝึนตัวเองเพื่อปรับตารางการนอนใหม่ให้ถูกต้อง เช่น หาอะไรทำเพื่อไม่ให้หลับ แล้วพยายามเข้านอนตอน 3-4 ทุ่ม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตของตนเองจะช่วยลดปัญหาการง่วงนอนระหว่างวันได้ อาจต้องลองฝึนตัวเองเพื่อปรับตารางการนอนใหม่ให้ถูกต้อง เช่น หาอะไรทำเพื่อไม่ให้หลับ แล้วพยายามเข้านอนตอน 3-4 ทุ่ม
ความเครียดคือหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้นอนไม่หลับ ดังนั้นจึงควรผ่อนคลายความเครียดลง ซึ่งทำได้หลากหลายวิธี เช่น การทำสมาธิ การนวด การออกกำลังกายเบา ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผ่อนคลายลงได้
ความเครียดคือหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้นอนไม่หลับ ดังนั้นจึงควรผ่อนคลายความเครียดลง ซึ่งทำได้หลากหลายวิธี เช่น การทำสมาธิ การนวด การออกกำลังกายเบา ๆ ซึ่งจะช่วยให้ผ่อนคลายลงได้
หลายคนเข้าใจว่ายิ่งออกกำลังกายจะยิ่งทำให้ง่วง แต่อันที่จริงแล้วการออกกำลังกายเป็นประจำเพียงวันละ 30 นาทีจะสามารถช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น อีกทั้งยังกระตุ้นการเผาผลาญซึ่งจะทำให้ร่างกายมีเรี่ยวแรงมากขึ้นด้วย
หลายคนเข้าใจว่ายิ่งออกกำลังกายจะยิ่งทำให้ง่วง แต่อันที่จริงแล้วการออกกำลังกายเป็นประจำเพียงวันละ 30 นาทีจะสามารถช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น อีกทั้งยังกระตุ้นการเผาผลาญซึ่งจะทำให้ร่างกายมีเรี่ยวแรงมากขึ้นด้วย
อาการง่วงนอนตอนกลางวัน ถึงแม้ว่าเมื่อคืนจะได้นอนอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม อาการนี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และควรไปพบแพทย์เฉพาะด้าน (Sleep specialist) ซึ่งแพทย์มักจะให้ตรวจการนอนหลับแบบเต็มรูปแบบ (Full night polysomnography) หรือให้ทำการตรวจสอบความง่วงนอน (Multiple Sleep Latency Test หรือ MSLT) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะอาการและดุลยพินิจของแพทย์
อาการง่วงนอนตอนกลางวัน ถึงแม้ว่าเมื่อคืนจะได้นอนอย่างเต็มที่แล้วก็ตาม อาการนี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ และควรไปพบแพทย์เฉพาะด้าน (Sleep specialist) ซึ่งแพทย์มักจะให้ตรวจการนอนหลับแบบเต็มรูปแบบ (Full night polysomnography) หรือให้ทำการตรวจสอบความง่วงนอน (Multiple Sleep Latency Test หรือ MSLT) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะอาการและดุลยพินิจของแพทย์
การนอนหลับของคุณจะง่ายขึ้นหากเลือกหมอนที่ดีและเหมาะสม หมอนโคซี่ จาก Chowa สามารถปรับความสูง-ต่ำของหมอนได้ตามต้องการ ช่วยให้นอนหลับลึกสบาย ตื่นมาแล้วไม่รู้สึกอ่อนเพลียสาเหตุของอาการง่วงผิดปกติระหว่างวัน
อาการง่วงนอนอาจเป็นเรื่องปกติ แต่หากง่วงระหว่างวันเป็นประจำ ก็ควรใส่ใจและสังเกตอาการของตนเองอยู่เสมอ หากพยายามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองแล้วอาการง่วงนอนตลอดทั้งวันไม่หายไป ควรไปพบแพทย์เพื่อรับคำปรึกษาและการรักษาที่เหมาะสม
คลิกด้านล่างเพื่อดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหมอนโคซี่
Chowa 초와 สินค้าเกี่ยวกับสุขภาพการนอนระดับพรีเมียมจากประเทศเกาหลี
ที่จะยกระดับการนอนและการพักผ่อนของคุณให้ดียิ่งขึ้น
Chowa โชวาอยากเห็นคนไทยได้รับการพักผ่อนอย่างเต็มที่เหมือนคนเกาหลี เพราะเราเชื่อว่าการนอนเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด โชวาจึงเริ่มจากวิจัยการใช้ชีวิตของคนเกาหลี และนำเอานวัตกรรมหมอนเกาหลีมาประยุกต์ใช้กับหมอนโคซี่ของเรา เราฝันอยากจะให้คนไทยได้ใช้สินค้าที่มีประสิทธิภาพและมาตรฐานเหมือนที่คนเกาหลีใช้
หมอนโคซี่ใบนี้เป็นหมอนที่สร้างมาเพื่อคุณโดยเฉพาะ พิเศษที่สามารถปรับความสูงต่ำของหมอนได้ตามต้องการ วัสดุด้านในประกอบไปด้วยไฮเปอร์เมมโมรี่โฟมและไมโครไฟเบอร์ ช่วยรองรับต้นคอและศีรษะอย่างพอดี ให้สัมผัสเหมือนนอนอยู่บนปุยเมฆที่นุ่มฟู
“เป็นสินค้าพรีเมี่ยมที่ใช้ดีทุกชิ้นเลยจริงๆ การนอนดีขึ้นมากตั้งแต่เปลี่ยนมาใช้หมอนโชวา ซื้อไปฝากญาติพี่น้องทุกคนในครอบครัว ก็ติดใจกันหมด ใครที่ยังไม่เคยใช้บอกเลยว่าห้ามพลาดค่ะ ” — คุณ ภัทรพร